ReadyPlanet.com


การบังคับ คำเอก คำโท ของโคลง มีที่มาอย่างไรครับ?


 การบังคับ คำเอก คำโท ของโคลง มีที่มาอย่างไรครับ?


เป็นเรื่องที่สงสัยมาตั้งแต่สมัยเรียนแล้วครับ อย่างการบังคับคำสัมผัสในร้อยกรองต่างๆ การบังคับเสียงท้ายวรรคในกลอน บังคับครุลหุในฉันท์
ก็มีนึกออกว่ามันเป็นการบังคับเสียงให้ไพเราะขึ้น แต่อย่างคำเอกคำโทนี่เป็นการบังคับรูปมากกว่าเสียง(?) เลยไม่แน่ใจว่ามีหน้าที่อะไรครับ

รบกวนผู้รู้ช่วยไขข้อข้องใจให้ทีครับ
สมาชิกหมายเลข 936681
http://pantip.com/topic/32338790

=====

น่าสนใจ จึงนำมาเสนอ

ผมขอขอบคุณล่วงหน้าครับ


ผู้ตั้งกระทู้ share :: วันที่ลงประกาศ 2014-07-18 10:01:18


[1]

ความคิดเห็นที่ 1 (3677144)

 ขอแสดงความคิดเห็นครับ

ผมคิดว่า คงเป็นประเด็นเรื่อง “เสียง” เช่นเดียวกับร้อยกรองประเภทอื่น ๆ ครับ
(เหตูผลคือ คนสมัยก่อนสื่อสารผ่าน “เสียง” เป็นสำคัญ)

แล้วทำไม บังคับรูป เอกโท ? ผมว่า
ทำให้ไม่ต้อง “ลงรายละเอียด” ครับ
ด้วยเหตุ ไม่ว่าอักษรใด ไม่ว่า คำเป็นคำตาย ครุลหุ จะมีเสียงได้แค่ เอก โท ตรี เท่านั้น
ผู้รู้ท่านคงว่า ตำแหน่งที่กำหนด ควรมีแค่ สามเสียง จึงฟังไพเราะ

ผู้แสดงความคิดเห็น share วันที่ตอบ 2014-07-28 12:58:30



[1]


แสดงความคิดเห็น
ความคิดเห็น *
ผู้แสดงความคิดเห็น  *
อีเมล 
ไม่ต้องการให้แสดงอีเมล



Copyright © 2010 All Rights Reserved.