เครือข่ายกวีและนักเขียน ไทย |
|
มูลนิธิอมตะ เชิญชวนศิลปินไทย ร่วมส่งผลงานเข้าประกวดศิลปกรรม อมตะ อาร์ต อวอร์ด ครั้งที่ 6 ภายใต้หัวข้อ อมตะเนรมิตศิลป์ ชิงเงินรางวัลกว่า 1,000,000 บาท More...
| ผลงานที่ผ่านการคัดเลือกประเภทกวีนิพนธ์ประเภทสารคดีจะได้รับรางวัลในลักษณ์เดียวกันคือรางวัลชนะเลิศจะได้รับโล่เกียรติยศ และเกียรติบัตร ของประธานสภานิติบัญญัติแห่งชาติและเงินรางวัล 2 แสนบาท More...
| กิจกรรม “จากมองโกเลียอัลไต สู่ไทยเจ้าพระยา” From Mongolia Altai to Thai Chaopraya ซอหัวม้า บทเพลงจากทุ่งหญ้าและขุนเขา ณ หอศิลปวัฒนธรรมแห่งกรุงเทพมหานคร ระหว่างวันที่ 2-4 ธันวาคม 2557 More...
| วันนี้ (10 ตุลาคม 2557) ผู้สื่อข่าวรายงานว่า ผลการประกาศรางวัลซีไรต์ ประจำปี 2557 ปรากฏว่า รวมเรื่องสั้น "อสรพิษ" ของ แดนอรัญ แสงทอง สามารถคว้ารางวัลวรรณกรรมสร้างสรรค์ยอดเยี่ยมแห่งอาเซียน (Southeast Asian Writers Award) หรือรางวัลซีไรต์ 2557 ไปครองได้สำเร็จ More...
| มูลนิธิอมตะ ร่วมส่งเสริมการอ่านและการเขียนเพื่อแบ่งปันประสบการณ์ โดยขอเชิญผู้สนใจ ร่วมส่งผลงานข้อเขียน “ร้อยแก้ว” และ “ร้อยกรอง” เข้าร่วมประกวดในโครงการประกวดข้อเขียน แรงบันดาลใจจากหนังสือ “ชีวิตใหม่ 2” ซึ่งมีเนื้อหาเกี่ยวกับแรงบันดาลใจที่เกิดขึ้นจากการอ่านหนังสือ “ชีวิตใหม่ 2” More...
| | |
|
 | โครงการประกวดร้อยกรองออนไลน์ สมาคมนักกลอนแห่งประเทศไทย ครั้งที่ 8 ประจำปี 2558 More...
| | |
 | ประกาศสมาคมนักกลอนแห่งประเทศไทย รายนามนักกลอนตัวอย่างและนักกลอนดีเด่นประจำภาค ประจำปี พ.ศ.๒๕๕๗ More...
|  | การแข่งขันกลอนสด นักเรียนมัธยมศึกษา งาน “วันนักกลอน ๑๐ ธันวา” ปีนี้ ทางสมาคมฯเพิ่มจำนวนโรงเรียนตัวแทนภาค ๗ ภาค เป็นภาคละ ๒ โรงเรียน โรงเรียนที่มีสิทธิ์เข้าแข่งขัน ใน “วันนักกลอน ๑๐ ธันวา” ณ โรงแรมรัตนโกสินทร์ (รอแยล) มีดังนี้ More...
| | |
บทร้อยกรอง |  | ๐ ศรีศรีวันนี้เป็นวันดี ขอให้เจริญศรีสุขสวัสดิ์ นมัสการพระชินสีห์ ยอกรอัญชุลีขึ้นเหนือเกล้า ประณตนิ้วดุษฎี ข้าขอไหว้พระพุทธเจ้า พระธรรมเจ้าพระสังฆเจ้า จงมาปกเกศี ทุกค่ำเช้าเพรางาย ฯ More...
|  | เมื่อวันที่ 24 ต.ค.โรงพยาบาลจุฬาลงกรณ์ สภากาชาดไทย ได้เผยแพร่แถลงการณ์เรื่อง “พระอาการประชวรของสมเด็จพระญาณสังวร สมเด็จพระสังฆราช สกลมหาสังฆปริณายก ขณะประทับ ณ โรงพยาบาลจุฬาลงกรณ์ สภากาชาดไทย ฉบับที่9” ความว่า More...
|  | บทกวีชุด "เจ้าผีเสื้อเอย" วีระศักดิ์ ขุขันธิน เขียนที่โรงพยาบาลศิริราช แปลเป็นภาษาจีนโดย โชติช่วง นาดอน More...
| | |
|
คำฉันท์มหาชาติ เข้าใจว่าเห็นจะมีทั้ง ๑๓ กัณฑ์ แต่ที่ในหอพระสมุดวชิรญาณสำหรับพระนครรวบรวมได้ไว้ยังไม่ครบ สังเกตดูฉบับที่ได้ไว้ สำนวนแต่งดูเหมือนจะแต่งในรัชกาลที่ ๒ ละรัชกาลที่ ๓ กรุงรัตนโกสินทร์นี้ เป็นสำนวนที่แต่งดีทุกกัณฑ์ แต่หาทราบชื่อผู้แต่งได้หมดไม่ ที่ทราบได้บางกัณฑ์เป็นสำนวนเจ้านายผู้หญิงทรงพระนิพนธ์ก็มี ดังเช่นคำฉันท์กัณฑ์กุมาร ซึ่งพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้านารีรัตนา ทรงพิมพ์ประทานตอบแทนผู้ถวายรดน้ำสงกรานต์เมื่อ พ.ศ ๒๔๖๖ More...
| เมื่อเริ่มเขียนบทความชุด “คำฉันท์” วางแผนงานไว้ว่า จะเขียนแนะนำวรรณคดีคำฉันท์ไล่เรียงมาตั้งแต่ยุคเริ่มต้นในสมัยกรุงศรีอยุธยาจนมาถึงกรุงรัตนโกสินทร์ เขียนไปเรื่อย ๆ ให้เห็นพัฒนาการของฉันทลักษณ์ฉันท์ และจะสอดแทรกเกร็ดความรู้เกี่ยวกับวัฒนธรรมในสังคมยุคนั้น ๆ ที่ข้าพเจ้ามีข้อมูลใหม่ ๆ แปลก ๆ เอาไว้ด้วย เป็นต้นว่า นำเอาฉากบรรยายการคล้องช้างในวรรณคดีลาว(อีสาน)มาเล่าเสริมเรื่องการคล้องช้างใน “สมุทรโฆษคำฉันท์” ไว้ด้วย More...
| ขอเล่าถึงวรรณคดีอีสาน เรื่อง “นางแตงอ่อน” สักหน่อยหนึ่ง แม้ว่าฉันทลักษณ์เรื่องนี้จะเป็นโคลงลาว เหตุที่จำเป็นต้องกล่าวถึง เพราะวรรณคดีอีสานเรื่องนี้มีฉาก “การคล้องช้างเผือก” ด้วยบ่วงบาศเชือกปะกำ วรรณคดีภาคกลางที่บรรยายฉากการคล้องช้างไว้ละเอียดที่สุดคือเรื่อง “สมุทรโฆษคำฉันท์” เหตุที่กวีประพันธ์ฉากนี้ไว้ละเอียด น่าจะเนื่องจากพระราชนิยมของสมเด็จพระนารายณ์มหาราชทรงโปรดการคล้องช้างมาก ข้าพเจ้าเคยเขียนเล่าไว้ในคอลัมน์นี้ถึงห้าหกตอน More...
| “อนิรุทธคำฉันท์” มีคำฉันท์มากประเภทกว่าเรื่อง “เสือโคคำฉันท์” และสำนวนก็ไพเราะกว่าด้วย ฉากบรรยายป่า ล่าสัตว์ ฉากอุ้มสม ฉากวาดรูป จนถึงฉากพระเจ้ากรุงพาณออกรบจับพระอนิรุทธมัดประจานไว้หน้าพระลาน มีฉันท์ไพเราะหลายบท แต่ขอข้ามไป จะยกตัวอย่าง “สัททุลวิกกีฬิตฉันท์ 19” ตอนที่นางอุษารำพัน ขอให้สังเกตว่า คำส่งสัมผัสนั้นไม่จำเป็นต้องสัมผัสคำท้ายวรรค More...
| วรรณคดีประเภทฉันท์ที่อ่าน “มัน” มาก ตามความชอบส่วนตัวของข้าพเจ้าคือเรื่อง “อนิรุทธคำฉันท์” เพราะมีเรื่อง “เทพ” รบกันเอง พระกฤษณะ ซึ่งคือพระนารายณ์อวตารมาอยู่เมืองมนุษย์ รบกับพาณาสูรราชซึ่งเป็นยักษ์ แต่พระอิศวรดันมาช่วยพาณาสูรราช รบกับมนุษย์ (พระกฤษณะ) แล้วยังเอาชนะพระกฤษณะ(มนุษย์)ไม่ได้ หมดทางเข้าก็จะใช้ “ตาที่สาม” More...
| | |
|