ReadyPlanet.com
dot dot
อ่านเขียนเรียนร้อยกรองทำนองไทย ๔ภาค

สัมมนาเชิงปฏิบัติการ

ฝึก อ่านเขียนเรียนร้อยกรองทำนองไทย ๔ภาค
 
 
๑.ผู้รับผิดชอบโครงการ
                อาศรมวัฒนธรรมวลัยลักษณ์ มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์
๒. หลักการเหตุผล
 
                การอ่านและการเขียนเป็นเรื่องหนึ่งที่ได้กำหนดการเรียนการสอนไว้ตามหลักสูตรและได้มีการจัดประกวด ทั้งในระดับหน่วยงานและระดับชาติเนื่องจากเป็นกิจกรรมที่สรรค์สร้างภาษาไทยพัฒนาการเรียน การสอนสื่อความรู้สึกนึกคิดระหว่างกันและกันเป็นการสืบทอดวัฒนธรรมไทยที่สำคัญอย่างหนึ่ง การอ่านและการเขียนนับได้ว่ามีความหมายและมีความสำคัญเป็นอย่างยิ่ง โดยเฉพาะต่อการพัฒนาคุณภาพชีวิตของมนุษย์ ทั้งนี้เนื่องจากการอ่านเป็นปัจจัยสำคัญที่ช่วยให้เกิดความงอกงามทางปัญญา ความบันเทิง การพักผ่อน นำมาซึ่งความสุขและมีส่วนผลักดันให้สังคมเจริญก้าวหน้าได้เร็วขึ้น ที่เป็นเช่นนี้เนื่องจากเป็นพื้นฐานของการเรียนรู้ และทำให้คนฉลาด  รู้จักคิดและมีโลกทัศน์ที่กว้างไกล ประโยชน์ที่ได้รับจากการอ่านและการเขียนใช่ว่าจะมีเพียงการเก็บเกี่ยวหรือรับความรู้ทราบข้อเท็จจริงเท่านั้น หากแต่ยังให้ความบันเทิงและมีความสนุกสนานเพลิดเพลินอีกด้วย
                 “การเขียน” เป็นการถ่ายทอดความรู้สึกนึกคิดและความต้องการของบุคคลออกมาเป็นสัญลักษณ์ คือ ตัวอักษร เพื่อสื่อความหมายให้ผู้อื่นเข้าใจ ทำให้มองเห็นความหมายของการเขียนว่า มีความจำเป็นอย่างยิ่งต่อการสื่อสารในชีวิตประจำวัน
                “การอ่านออกเสียง” เป็นเรื่องสำคัญมากที่จะสร้างความเข้าใจและเกิดการสื่อสาร และมีผลดีหลายประการ โดยเฉพาะอย่างยิ่งการอ่านบทร้อยกรองเป็นทำนองด้วยแล้ว ยิ่งเป็นสิ่งสำคัญมาก ใครอ่านได้ดีมีความไพเราะจะทำให้เกิดผลดีทั้งต่อตนเองและผู้อื่น การอ่านร้อยกรองทำนองเสนาะเป็นศิลปะอย่างหนึ่งเพราะมีความไพเราะ มีความงดงามที่เกิดขึ้นจากการใช้เสียงเพื่อสื่อความหมายที่ซ่อนอยู่ในคำให้ปรากฏขึ้นในห้วงความคิดและทำให้ผู้ฟังเกิดจินตภาพ ดังนั้นการจะอ่านร้อยกรองหรืออ่านทำนองเสนาะให้ได้ดีจึงต้องมีการพัฒนาทักษะอย่างต่อเนื่องไปพร้อมๆ กัน เพื่อให้เกิดความสมบูรณ์ที่สุด
                ด้วยเหตุนี้เพื่อให้เกิดการส่งเสริมให้เกิดการเรียนรู้ทางวัฒนธรรมด้านภาษา  และถ่ายทอดไปสู่อนุชนได้ อาศรมวัฒนธรรมวลัยลักษณ์ประจักษ์ถึงความสำคัญในเรื่องนี้ จึงจัดให้มีการ “ฝึก อ่านเขียนเรียนร้อยกรองทำนองไทย ๔ภาค” ขึ้น
 
๓. วัตถุประสงค์
๑.      เพื่อฝึกปฏิบัติการอ่านและเขียนร้อยกรอง ประเภทต่างๆ ให้กับบุคลากรด้านภาษาไทย                          และเยาวชนของชาติ
๒.    สร้างความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับภาษา วรรณกรรม และวัฒนธรรมท้องถิ่นทั้ง ๔ ภาค
๓.     พัฒนาบุคลากรทางการศึกษาให้เป็นผู้มีความรู้ความสามารถทางภาษาไทย และนำไปประยุกต์ใช้ในหลักสูตรวรรณกรรมพื้นบ้านได้เป็นอย่างดี         
. เพื่อส่งเสริมและเชิดชู ผู้สร้างสรรค์งานวรรณคดี และวรรณกรรม
 
๔. กลุ่มเป้าหมาย
                ครู อาจารย์ ที่สอนภาษาไทยและผู้ที่มีความสนใจเกี่ยวกับการเขียนและการอ่านทำนองเสนาะในสถานศึกษาต่างๆ ทั่วประเทศ จำนวน ๗๐ คน
 
๕. รูปแบบกิจกรรมการฝึกอบรม
                วิทยากรสาธิตประกอบการบรรยาย และผู้เข้ารับการอบรมร่วมฝึกปฏิบัติในกิจกรรมต่างๆ ร่วมกันแล้วแบ่งเป็นกลุ่มย่อยเพื่อปฏิบัติจริง
                               
๖. ระยะเวลาดำเนินการ
กำหนดจัดสัมมนาในวันที่  ๕-๖  กุมภาพันธ์  ๒๕๕๔ ณ ห้องอบรม ๑ อาคารวิจัย   มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์
 
๗. ค่าลงทะเบียน
                ผู้เข้าอบรม ชำระค่าลงทะเบียนท่านละ ๙๐๐ บาท  ( โดยโอนเข้าบัญชี นางสาวพันธุ์ทิพย์ ทิพย์กองลาศ ธนาคารกรุงไทย เลขที่บัญชี  ๘-๒๘๐๑-๗๐๕๖-๑ ประเภทออมทรัพย์   สาขาท่าศาลา                                          ภายในวันที่  ๓  กุมภาพันธ์ ๒๕๕๔) และกรุณาส่งหลักฐานการโอนเงินมาที่ นางสาวพันธุ์ทิพย์ ทิพย์กองลาศ                           อาศรมวัฒนธรรมวลัยลักษณ์ โทรสาร ๐-๗๕๖๗-๒๕๐๗ หรือทางอีเมล์ phuntipster@gmail.com                 มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์  ๒๒๒ ต.ไทยบุรี อ.ท่าศาลา จ.นครศรีธรรมราช ๘๐๑๖๐โทร ๐-๗๕๖๗-๒๕๕๐ ,          
 ๐-๘๔๑๘๓-๓๙๔๓ ,๐-๘๖๔๗๙-๕๐๓๒ 
 
ทั้งนี้โปรดระบุชื่อ- สกุล ของผู้สมัครและเบอร์โทรศัพท์ในการติดต่อกลับได้สะดวก
 
 
 
 
 
 
 
๗. สิ่งที่ผู้เข้าอบรมจะได้รับ
                ๘.๑ เกียรติบัตรผ่านการอบรมจากอาศรมวัฒนธรรมวลัยลักษณ์ มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์
                ๘.๒ เอกสารประกอบการสัมมนาเชิงปฏิบัติการอ่านร้อยกรองทำนองไทย
                ๘.๓ อาหารกลางวัน มื้อเที่ยง ๒  มื้อ
                ๘.๔ อาหารว่าง ๔ มื้อ
 
๘.งบประมาณ
                เงินค่าลงทะเบียนจากผู้เข้าร่วมการสัมมนา 
                เงินสนับสนุนจากงบประมาณอาศรมวัฒนธรรมวลัยลักษณ์     มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์
                (หมวด กิจกรรมหลัก ส่งเสริมวิชาการด้านศิลปะและวัฒนธรรม )ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๔
 
๙. ผลที่คาดว่าจะได้รับ
 
                ๙.๑ ครู อาจารย์ และเยาวชนไทยอ่านออกเสียงและอ่านร้อยกรองทำนองไทยและเขียนได้อย่างถูกวิธี
                ๙.๒คนไทยตระหนักในคุณค่าและความสำคัญของภาษาและวรรณกรรมไทย                   
                ๙.๓ สถานศึกษาต่างๆ ตื่นตัวในการอนุรักษ์สืบทอดมรดกวัฒนธรรมด้านภาษาวรรณคดีและวรรณกรรมไทย
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
กำหนดการ
“ฝึก อ่านเขียนเรียนร้อยกรองทำนองไทย ๔ภาค”
ระหว่าง วันที่  ๕-๖ กุมภาพันธ์ ๒๕๕๔ ณ ห้องอบรม ๑ อาคารวิจัย   มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์
 
 
วันเสาร์ ที่ ๕ กุมภาพันธ์ พ.ศ.๒๕๕๔
เวลา ๐๘.๓๐-๐๙.๐๐ น.        ผู้เข้าอบรมลงทะเบียน / รับเอกสาร
 
เวลา ๐๙.๒๐-๐๙.๔๐ น.        พิธีเปิด “สัมมนาเชิงปฏิบัติการ ฝึก อ่านเขียนเรียนร้อยกรองทำนองไทย ๔ ภาค
                                                ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.มารวย เมฆานวกุล รองอธิการบดีฝ่ายกิจการนักศึกษา  : ประธาน
                                              รองศาสตราจารย์ ดร.สืบพงศ์ ธรรมชาติ  รักษาการแทนผู้อำนวยการ
                                                 อาศรมวัฒนธรรมวลัยลักษณ์ : กล่าวรายงาน
 
เวลา ๐๙.๔๐-๑๒.๐๐ น.        อภิปราย “รู้สำเนียง รู้เสียงภาษาไทยสี่ภาค”
                                                วิทยากร: ดร.วัฒนะ บุญจับ สำนักวรรณกรรม กรมศิลปากร
                                                 อาจารย์วิลักษณ์  ศรีป่าซาง มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา วิทยาเขตภาคพายัพ
                                                 อาจารย์ชุมเดช  เดชภิมล  มหาวิทยาลัยมหาสารคาม
                                                 หนังเอิบ ยอดขุนพล ( หนังตะลุง ถ้วยพระราชทานสมเด็จพระเทพฯ)
                                                ผศ.บัวผัน สุพรรณยศ หัวหน้ากองส่งเสริมศิลปะและวัฒนธรรม มหาวิทยาลัยหอการค้าไทย
 
                                                                ผู้ดำเนินรายการ : รศ.ดร.สืบพงศ์ ธรรมชาติ
                                                                รักษาการแทนผู้อำนวยการอาศรมวัฒนธรรมวลัยลักษณ์
                                                -พักรับประทานอาหารว่าง
                                                -พักรับประทานอาหารเที่ยง
 
เวลา ๑๓.๐๐-๑๔.๓๐.๐๐ น. อภิปราย “จรดปากกา... สู่การเขียนมืออาชีพ”
                                                                วิทยากร : ซะการีย์ยา อมตยา (กวีซีไรต์ ปี พ.ศ. ๒๕๕๓)        
                                                                ผู้ดำเนินรายการ: อาจารย์สมใจ สมคิด สำนักวิชาศิลปศาสตร์
 
 
 
เวลา ๑๔.๓๐-๑๖.๓๐ น. เสวนา เรื่องขุนช้างขุนแผน
                                                ศาสตราจารย์ ดร.เจตนา นาควัชระ
                                                ศาสตราจารย์ ดร. ผาสุก     พงษ์ไพจิตร( ผู้แปลขุนช้างขุนแผน ภาษาอังกฤษ)
                                                คริส เบอเคอร์ ( ผู้แปลขุนช้างขุนแผน ภาษาอังกฤษ)
                                                ผู้ดำเนินรายการ : ศ.พิเศษ ดร. ชลธิรา สัตยาวัฒนา คณบดีสำนักวิชาศิลปศาสตร์
เวลา ๑๖.๓๐น. เป็นต้นไป  
                                                ประกวดขับเสภา (รอบชิงชนะเลิศ) ระดับมัธยมศึกษา อุดมศึกษา และระดับประชาชน
-------------------------------------------
วันอาทิตย์ ที่ ๖ กุมภาพันธ์ พ.ศ.๒๕๕๔
 
เวลา ๐๘.๓๐- ๑๒.๐๐ น.   ฝึกปฏิบัติการ   (คัดเลือกตัวแทน ผู้มีผลงานดีเด่นด้านการอ่าน-การเขียน ของภาคต่างๆ)
                                                อ่าน-เขียน วรรณกรรม (ภาคเหนือ)   (กลุ่มละ ๒๕ คน)
                                                อาจารย์วิลักษณ์  ศรีป่าซาง มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา วิทยาเขตภาคพายัพ
                                                อ่าน-เขียน วรรณกรรม (อีสาน) (กลุ่มละ ๒๕ คน)   
                                                อาจารย์ชุมเดช  เดชภิมล มหาวิทยาลัยมหาสารคาม   (รวมกันใช้ห้องใหญ่)
 
                                                -พักรับประทานอาหารว่าง-
 
                                                อ่าน-เขียน วรรณกรรม (ภาคกลาง) (กลุ่มละ ๒๕ คน)
                                                ดร.วัฒนะ บุญจับ สำนักวรรณกรรม กรมศิลปากร
                                                ผศ.บัวผัน สุพรรณยศ หัวหน้ากองส่งเสริมศิลปะและวัฒนธรรม มหาวิทยาลัยหอการค้าไทย
                                                ซะการีย์ยา อมตยา (กวีซีไรต์ ปี พ.ศ. ๒๕๕๓)           
                                                                        อ่าน-เขียน วรรณกรรม (ภาคใต้ ) (กลุ่มละ ๒๕ คน)
                                                หนังเอิบ ยอดขุนพล  หนังตะลุง ถ้วยพระราชทานสมเด็จพระเทพฯ
                                                                        เพลงบอกสมใจศรีอู่ทอง ถ้วยพระราชทานสมเด็จพระเทพฯ
 
                                                                        - พักรับประทานอาหารเที่ยง-
 
เวลา ๑๓.๐๐-๑๔.๐๐ น.    ฝึกปฏิบัติต่อและคัดเลือกผู้มีความสามารถในด้านการอ่าน-การเขียน ได้ดี ภาคละ ๒ คน
                                                -พักรับประทานอาหารว่าง-
เวลา ๑๔.๒๐-๑๕.๐๐ น.   ประกาศผลผู้ได้รับรางวัลผลงานดีเด่นด้านการอ่าน-การเขียน
 
เวลา ๑๕.๐๐-๑๖.๒๐         พิธีมอบเกียรติบัตรผู้ผ่านการฝึกอบรม
                                                “ฝึก อ่านเขียนเรียนร้อยกรองทำนองไทย ๔ภาค”      
                                                - ปิดการสัมนา-
  
 
 
 
 
ใบสมัครเข้าร่วมสัมมนาเชิงปฏิบัติการอ่านร้อยกรองทำนองไทย
ระหว่างวันที่ ๕-๖ กุมภาพันธ์ ๒๕๕๔
ณ ห้องประชุม ๑ อาคารวิจัย มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์ จ.นครศรีธรรมราช
 
 
 
 
ชื่อ (นาย/นาง/นางสาว) ..................................................สังกัดหน่วยงาน...................................................... ตำแหน่ง........................................................ที่อยู่.........................................................................................
....................................โทรศัพท์..................................โทรสาร...................................... มือถือ....................
E-mail :...........................................
Øมีความประสงค์จะให้บุคลากรเข้าร่วมการอบรมดังกล่าว จำนวน ......................คน
( หากมีผู้สนใจหลายคนสามารถพิมพ์รายชื่อแนบได้)
.....................................................................................................โทร.............................................
๒.........................................................................................................โทร............................................
๓.........................................................................................................โทร............................................
 +กรุณาชำระเงินค่าลงทะเบียนผ่านธนาคารกรุงไทย ชื่อบัญชี
         นางสาวพันธุ์ทิพย์ ทิพย์กองลาศเลขที่บัญชี ๘-๒๘๐๑-๗๐๕๖-๑ ประเภท ออมทรัพย์ สาขาท่าศาลา
 ภายในวันที่ ๓  กุมภาพันธ์ ๒๕๕๔ ( หมายเหตุ :คณาจารย์ ข้าราชการ พนักงานของรัฐและองค์กรรัฐวิสาหกิจ สามารถเบิกจ่ายค่าเดินทางและค่าลงทะเบียนการเข้าร่วมอบรมได้จากต้นสังกัด ตามระเบียบกระทรวงการคลัง)
 
ผู้ประสานงาน       นางสาวพันธุ์ทิพย์ ทิพย์กองลาศ อาศรมวัฒนธรรมวลัยลักษณ์ อาคารพลศึกษา
                        มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์๒๒๒ ต.ไทยบุรี อ.ท่าศาลา จ.นครศรีธรรมราช๘๐๑๖๐
                        โทรศัพท์ ๐-๗๕๖๗-๒๕๕๐ มือถือ ๐๘๔-๑๘๓๓๙๔๓โทรสาร ๐-๗๕๖๗-๒๕๐๗
(โดยส่งแฟกซ์ใบสมัคร พร้อมใบโอน (กรุณาเขียนชื่อผู้สมัครในใบโอนให้ชัดด้วย) ส่งแฟกซ์ไปที่ ๐-๗๕๖๗-๒๕๐๗
โดยข้าพเจ้าประสงค์ให้คณะกรรมการจัดงานดำเนินการ ดังนี้
            ๑.ด้านอาหาร            อาหารทั่วไป ....................คน              อาหารอิสลาม..........................คน 
            ๒.ขอให้ออกใบเสร็จในนาม..........................................................ชื่อ...................................ที่อยู่..........................
 
ดูรายละเอียดเพิ่มเติม และสอบถามได้ที่
            http://cultural.wu.ac.th/   , http://www.wu.ac.th/      
หรือส่งใบสมัครผ่าน E-mail : phuntipster@gmail.com (กรุณาโทรแจ้ง)
J แนะนำที่พัก (กรุณาติดต่อด้วยตนเอง)J
๑.       โรงแรมคุ้มสวัสดิ์ หน้ามหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์ โทรศัพท์ ๐๗๕-๔๔๕๐๒๒(ราคาคืนละ ๔๕๐ บาท)
๒.      โรงแรมเรือนวลัย มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์ โทรศัพท์ ๐-๗๕๓๘๔๑๔๕-๙ เบอร์ภายใน ๖๑๐๑(ราคาคืนละ ๖๐๐ บาท)
๓.      เอบีแมนชั่นตลาดท่าศาลาโทรศัพท์ ๐-๗๕๓๘๔๑๔๕-๙  
 
 
 
 

 




ข่าวสารประชาสัมพัธ์

เชิญส่งผลงานประกวด “อมตะ อาร์ต อวอร์ด” ครั้งที่6
เชิญส่งผลงานประกวดชิงรางวัลพานแว่นฟ้าปี 2558
กิจกรรม จากมองโกเลียอัลไต สู่ไทยเจ้าพระยา
อสรพิษ – แดนอรัญ แสงทอง – รางวัลซีไรต์ 2557
ผลการประกวดข้อเขียนแรงบันดาลใจจากหนังสือ ชีวิตใหม่ 2
เวทีกลอนเดือนสิบ ๒๕๕๗
ชวนประกวดเรื่องสั้นกับ สสส.
ผลรางวัลเซเว่นบุ๊คอวอร์ด ครั้งที่ 11, 2557
ประกาศรางวัล รพีพร 13 ก.ค. 2557
เชิญร่วมสงกรานต์นักกลอน และ ๗๕ ปี นิภา ท่าพระจันทร์
จัดงาน "๗๕ ปี นิภา ท่าพระจันทร์"
ขอเชิญร่วมการบำเพ็ญกุศลพระศพ สมเด็จพระญาณสังวร สมเด็จพระสังฆราช
ผลการตัดสิน รางวัลวรรณกรรมรามคำแหง ประจำปี ๒๕๕๖
ขอเชิญส่งบทกลอนไปร่วมสนุกในรายการ "ประกายดาว"
คอนเสิร์ตเพลงดังหนังไทย ครูสุรินทร์ ภาคศิริ
"หัวใจห้องที่ห้า" รางวัลซีไรต์ 2556
ร่วมแสดงมุทิตาจิต สู่ 80 ปี สุเทพ วงศ์กำแหง
ประชันกลอนสดกลอนกระดาษ “การเมืองและการเลือกตั้ง” ครั้งที่ ๒
ประชันกลอนสดกลอนกระดาษ “การเมืองและการเลือกตั้ง” ครั้งที่ ๒
7 เล่มสุดท้าย ซีไรต์ 2556
เยาวชนอายุระหว่าง 8-18 ปี เชิญส่งภาพประกวดวันแม่
Young Thai Artist Award 2013
ประกวดรางวัลวรรณกรรมรามคำแหงครั้งที่ 3
งานประชันกลอนสด ชิงชนะเลิศภาคตะวันออกเฉียงเหนือ
“ข้าวไทย เด็กไทย เรียงความชิงแชมป์ประเทศไทย”
เชิญร่วมกิจกรรม “ค่ายกวีน้อยเมืองนคร” 20-21 ก.ค. 56
พิธีมอบรางวัลสุนทรภู่ ๒๖ มิถุนายน ๒๕๕๖
เรื่องสั้นเข้ารอบสุดท้าย รางวัลสุภาว์ เทวกุลฯ ปี 2556
โครงการอบรมยุวกวีศรีศิลป์ รุ่น ๒๒ (นิราศภูเขาทอง)
รางวัลศรีบูรพา เป็นคนที่ 25 (2556) ธีรภาพ โลหิตกุล
ประสพโชค เย็นแข นักกลอนอาวุโส นักเขียนรางวัลนราธิป เสียชีวิต
ประกวดพานแว่นฟ้าแห่งรัฐสภาไทยประจำปี ๒๕๕๖
5 พฤษภาคม วันนักเขียน
วันนักแปลและล่าม ครั้งที่ 7
ร่องรอยกาลเวลา : ลาว เพื่อนบ้านอาเซียน วัฒนธรรมร่วมสองฝั่งโขง
รายชื่อกวีนิพนธ์และรายชื่อกรรมการซีไรต์ 2556
เปิดตัวหนังสือตำนานครูเพลง เพลงไทยสากล ลูกกรุง (30 มีนาคม 56)
รางวัลศรีบูรพา ปี 2556
นำชมศิลปะเขมร 7 วัน 12-18 เมษายน 2556
รางวัลหนังสือดีเด่นประจำปี 2556 คณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน
ล่องเรือเพลง และสังสรรค์รวมพลคนมีนา ประจำปี 2556
ลาว คำหอม และ พนมเทียน รับรางวัลอมตะครั้งที่ 6
สัมมนา ปันหยีอิเหนา ๒-๖ มีนาคม ๒๕๕๖
พิธีมอบรางวัล “นักเขียนอมตะ” ครั้งที่ ๖
งานมอบรางวัลนักเขียนบทความดีเด่นและฟังสักวา
“ราชมงคล รักษ์เหลืองจันท์ วันดอกไม้บาน” ครั้งที่ 12
เชิญประกวด “กวีนิพนธ์” และ “นักเขียนรุ่นเยาว์ กวีพนธ์” เซเว่นบุ๊คอวอร์ด
รางวัลนักเขียนอมตะประจำปี 2555
ประกาศรายชื่อศิลปินแห่งชาติ ประจำปี 2555
เชิญร่วมประกวด “กวีนิพนธ์” รางวัลซีไรต์ 2556
การประกวดรางวัลพระยาอนุมานราชธน
ศิลปินแห่งชาติ พุทธศักราช 2555
ผลการตัดสินรางวัลวรรณกรรมรามคำแหง ประจำปี 2555
ประกวดรางวัลวรรณกรรมรามคำแหง ครั้งที่ ๒, ๒๕๕๕
ประชุมวิชาการ 100 เอกสารสำคัญ: สรรพสาระประวัติศาสตร์ไทย ครั้งที่ 8
สมาคมนักกลอนเชิญชวนแข่งขันกลอนสดประจำปี ๒๕๕๕
นายอินทร์อะวอร์ด ๒๕๕๖
ผลเซเว่นบุ๊คอวอร์ด 2555
นวนิยาย "คนแคระ" ของ วิภาส ศรีทอง คว้าซีไรต์ปี 2555
สัมมนาวิชาการ “ท้องถิ่นอีสานกับการปรับตัวยุคโลกาภิวัฒน์”
ภาพงานรับรางวัลพานแว่นฟ้า ปี 2555
การคัดเลือกกวีรางวัลสุนทรภู่ ประจำปี ๒๕๕๕
ร่องรอยกาลเวลา: ลุ่มน้ำน่าน
รายการศิลป์สโมสร - รางวัลสุนทรภู่ 26 มิถุนายน 2555
จัดงานเปิดตัวหนังสือชุดบทกวีคำเมือง
โครงการเที่ยวเชียงใหม่ ไหว้พระ(เกิน)เก้าวัด กับนายกสมาคมนักกลอน
โครงการแทนคุณแผ่นดิน ปี ๒๕๕๕
ร่องรอยกาลเวลา : สุรินทร์
ร่อยรอยกาลเวลา : ตรัง
งานมหกรรมทุเรียนโลก จังหวัดจันทบุรี
สงกรานต์นักกลอน" วันอาทิตย์ที่ ๑๕ เมษายน ๒๕๕๕
สัมมนา "จ้วง-ไท ศึกษา การค้นพบอักษรภาพของชนเผ่าไท"
เชิญชมหนังสือตัวอย่าง "ทางอีศาน" งานสัปดาห์หนังสือ
งานสัปดาห์หนังสือแห่งชาติ ครั้งที่ 40, 2555
รางวัล "ศรีบูรพา" ประจำปี 2555
ชิงรางวัลพานแว่นฟ้า ครั้งที่ ๑๑ ประจำปี ๒๕๕๕
รวมพล คนมีนา" โดยพร้อมเพรียงกัน
กำหนดการชุมนุมเสวนา 72 ปี เนาวรัตน์ พงษ์ไพบูลย์
ประชุมใหญ่สมาคมนักกลอนแห่งประเทศไทย
เสวนากวี ม.แม่โจ้ ๔ ธ.ค
โครงการ สานสายสัมพันธ์วัฒนธรรมอาเซียน ครั้งที่ 2
เชิดชูปูชนียบุคคลและผู้ใช้ภาษาไทยดีเด่น กระทรวงวัฒนธรรม
“รักสร้างสรรค์สยาม” โดยกลุ่มสห+ภาพ
ขอเชิญร่วมเปิดตัวนิตยสาร "อีศาน" และหนังสือ "บทนำชีวิต"
ประกาศผลรางวัลพานแว่นฟ้า ประจำปี ๒๕๕๔
ประกวดเรียงความ เรื่องสั้น บทกวี รางวัลธรรมวรรณศิลป์
ประกาศผลการตัดสินการประกวดหนังสือดีเด่นรางวัลเซเว่นบุ๊คอวอร์ด ครั้งที่ ๘ (ประจำปี ๒๕๕๔)
ขอเชิญร่วมแข่งสักวากลอนสด
โครงการกล้าวรรณกรรม ถอดรหัสนักวาดการ์ตูนในฝัน
เสวนา ๒๕ ปีสำนักพิมพ์แม่คำผาง
เปิดรับ “ศิษย์เก่า” รางวัลพานแว่นฟ้า
กาดผญาครั้งที่ ๕ ทัวร์วัฒนธรรมรถรางไหว้พระ ๙ วัด
Young Thai Artist Award 2011
นิทรรศการจัดแสดงผลงานของท่านสุนทรภู่ แนวร่วมสมัย
โครงการกล้าวรรณกรรม รุ่นที่ 8 เข้าอบรมฟรี
กิจกรรม คุณ...จะเอาพวกเขาไปไว้ที่ไหน?
โครงการแลกเปลี่ยนเรียนรู้จุดประกายความคิด
งานประกาศผลรางวัลนายอินทร์อะวอร์ด ครั้งที่ ๑๒
วิจารณ์วรรณกรรม ชั่วฟ้าดินสลาย



bulletผลร้อยกรองออนไลน์ 2558
dot
ประกวดร้อยกรองออนไลน์ครั้งที่ 7
dot
bulletข้อมูลการประกวดครั้งที่ 7, 2557
bulletผังร้อยกรอง
bulletอ่านโคลงประกวด 2557
bulletอ่านกลอนประกวด 2557
bulletอ่านกาพย์ยานีประกวด 2557
bulletผลการประกวดร้อยกรอง ปี 2557
dot
ข่าวสาร ข้อมูลสมาคม
dot
bulletกรรมการสมาคมสมัยที่ ๑๕-๑๖
bulletนายกสมาคมสมัยที่ ๑๗
bulletติดต่อนายกสมาคมนักกลอน
bulletติดต่อฝ่ายดูแลส่วนต่างๆ
bulletสมัครสมาชิกสมาคมนักกลอน
bulletนักกลอนตัวอย่าง ๒๕๕๓
dot
หัวข้อน่าสนใจ
dot
bulletรวมลิ้งค์เว็บไซต์น่าสนใจ
bulletส่งบทสักวา น.ส.พ. สยามรัฐ
bulletวารสารวิทยาจารย์ รับต้นฉบับ
bulletส่งข้อเขียนครูในดวงใจ
dot
แนะนำหนังสือ
dot
bulletหน้ารวมหนังสือ
bulletคู่มือเรียนเขียนกลอน
bulletกาสรคำฉันท์ - สมคิด สิงสง
bulletหนังสือสุรินทร์สโมสร
bulletฝากโลกนี้ไว้ในหัวใจเธอ - กอนกูย
bulletเลือน - อติภพ
bulletธาร ธรรมโฆษณ์
bulletนายทิวา
bulletกลอนเกียรติยศ
bulletอ้อมกอดแห่งท้องทุ่ง
bulletทองแถม นาถจำนง
bulletพงศาวดารพิภพ
bulletโป๊ยเซียน คะนองฤทธิ์
dot
โครงการประกวดต่างๆ
dot
bulletนายอินทร์อะวอร์ด ๒๕๕๖
bulletประกวดรางวัลซีไรท์ปี ๒๕๕๖
bulletรางวัลพานแว่นฟ้า ปี ๒๕๕๖
bulletรางวัลวรรณกรรมรามคำแหง ๒๕๕๖
dot
ผลตัดสินรางวัลต่างๆ
dot
bulletรางวัลศรีบูรพา ๒๕๕๖
bulletผลรางวัลซีไรต์ ๒๕๕๗
bulletผลเซเว่นบุ๊คอวอร์ด ๒๕๕๗
bulletผลรางวัลแว่นแก้ว ๗ (๒๕๕๓)
bulletผลกลอนวิถีคนกับควาย
bulletผลร้อยกรอง “ผมจะเป็นคนดี”
bulletรางวัลนราธิป ๒๕๕๓
bulletนักเขียนอมตะ คนที่ ๖ (๒๕๕๕)
bulletนักเขียนรางวัลศรีบูรพา ๒๕๕๖
bulletศิลปินมรดกอีสาน ๒๕๕๔
bulletผลรางวัลพานแว่นฟ้า ๒๕๕๕
bulletผลรางวัลรามคำแหง ๒๕๕๖
bulletศิลปินแห่งชาติ ๒๕๕๕
bulletผลประกวดหนังสือ ชีวิตใหม่ 2
dot
ข่าวคราวของลมหายใจ
dot
dot
Weblink
dot
bulletอ่านกลอนประกวด 2556

หนังสือพิมพ์ คมชัดลึก
สมาคมนักเขียนแห่งประเทศไทย
ศูนย์ให้คำปรึกษาปัญหาภาษาไทย มศว
เว็บรวมกระทู้ อาศรมชาวโคลง ใน pantip.com
หนังสืออีศาน


Copyright © 2010 All Rights Reserved.
ติดต่อ นายกสมาคมนักกลอนแห่งประเทศไทย ทองแถม นาถจำนง
โทรศัพท์ ๐๘๙-๑๒๓๔๗๕๔ อีเมล์ tongtham.n@hotmail.com

สำนักพิมพ์แม่โพสพ