ReadyPlanet.com
dot dot
ร่องรอยกาลเวลา: 450 ปี เวียงจันท์

กำหนดการสัมมนาวิชาการ : ร่องรอยกาลเวลา  : ร่วมรู้พื้นถิ่นสุวรรณภูมิ 450 ปี เวียงจันท์ สายสัมพันธ์บ่กั้นขวาง ไทย-สยาม-ลาว วรรณกรรมสองฝั่งโขงระหว่าง วันที่ 8 – 9 มกราคม พ.ศ.2554 ณ มหาวิทยาลัยขอนแก่น วิทยาเขตหนองคาย อ.เมือง จังหวัดหนองคาย และ สวนไผ่พันกอ กำแพงนครเวียงจันท์ สปป.ลาว

วันเสารที่  8 เดือนมกราคม พ.ศ.2554

เวลา        08.00 น. ลงทะเบียน วิทยากร สื่อมวลชน และผู้เข้าร่วมสัมมนา

                09.00 น.ดร.สุรพล แสนสุข ผู้อำนวยวิทยาเขตหนองคาย มหาวิทยาลัยหนองคายกล่าวต้อนรับ

                                                นายสินสมุทร เสนาอาจ ผอ.สพป.หนองคาย เขต 1 กล่าวรายงาน

                                                นายสมชาย เสียงหลาย ปลัดกระทรวงวัฒนธรรม

                                                กล่าวเปิดงานสัมมนาและปาฐถกถานำ

                10.00 น. เสวนาหัวข้อ เครือญาติชาติภาษา-ชาติพันธุ์ ไทย–สยาม–ลาว สองฝั่งโขง

เนาวรัตน์ พงษ์ไพบูลย์ ศิลปินแห่งชาติ สาขา วรรณศิลป์

ดวงเดือน บุนยาวง นักเขียนซีไรต์ สปป.ลาว

ผศ.ชลิต ชัยครรชิต ผู้อำนวยการสำนักวัฒนธรรม มข.

บุญเสริม แก้วพรหม กลุ่มกวีน้อยเมืองนครฯ ดำเนินรายการ

                                12.00 น. พักรับประทานอาหารกลางวัน
                                13.00 น. สัมมนาหัวข้อย่อย 3 ห้องสัมมนา

                                                ห้องย่อยที่ 1 หัวข้อ สารลึบพระสูรย์- นิราศทัพเวียงจันท์ – นิราศหนองคาย

วรรณกรรมและความหมายทางการเมือง

บุญเตือน ศรีวรพจน์ กรมศิลปากร วธ.

ปราโมทย์ ในจิต นักเขียน-กวี และนักแปล

                ทองแถม นาถจำนง บก.นสพ.สยามรัฐรายวัน    

ยงยุทธ ใจซื่อดี สมาคมนักกลอนแห่งประเทศไทย ดำเนินรายการ  

ห้องย่อยที่ 2 หัวข้อ 20 ปี สัมพันธ์ญาติน้ำหมึก ไทย – ลาว

                สมคิด สิงสง อดีตประธานสโมสรนักเขียนภาคอีสาน
                เยี่ยม ทองน้อย สโมสรนักเขียนภาคอีสาน
                บุนทะนอง ชมไชผน นักเขียน-กวี สปป.ลาว
                สุมาลี โพธิพยัฆค์ ปธ.สโมสรนักเขียนภาคอีสาน ดำเนินรายการ

ห้องย่อยที่ 3 .เบิ่ง 450 ปี เวียงจันท์ ง่ายงามในความเป็นลาว

                ดร.สุเนด โพทิสาน นักประวัติศาสตร์ สปป.ลาว
                อภินันท์ บัวหภักดี บก.ภาพ อนุสาร อสท.
                นนท์ พลังวรรณ บก.สารแม่มูน

วิทยา วุฒิไธสง สำนักวัฒนธรรม มข.ดำเนินรายการ

วันอาทิตย์ที่  9 มกราคม พ.ศ. 2554
เวลา        08.00 น.                  ลงทะเบียนผู้เข้าร่าวมสัมมนา

                09.00 น.                  สัมมนาห้องย่อย 3 ห้อง

                                                ห้องที่ 1 ทำไม! เด็กคิดไม่ออกเขียนไม่เป็น วิกฤติและทางออก

                                                                ยุทธ โตอดิเทพย์ นายกสมาคมนักกลอนแห่งประเทศไทย

                                                                ไพบูลย์ นาคเสน ผอ.เขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 20

                                                                บุญเสริม แก้วพรหม กลุ่มกวีน้อยเมืองนครฯ

                                                                ดร.สุเทพ บุญเติม ผอ.เขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษา เลย เขต 1

ดำเนินรายการ

                                                ห้องที่ 2 เพลง ดนตรี กวี สองฝั่งโขง

                                                                โชคชัย บัณฑิต’ กวีซีไรต์

                                                                สุรินทร์ ภาคศิริ นักแต่งเพลง

                                                                วีระ สุดสังข์ กวี-นักเขียน-นักแต่งเพลง

                                                                อานันท์ นาคคง วงกอไผ่ ดำเนินรายการ

                                                ห้องที่ 3 สินไชย –เซี่ยงเมียง วรรณกรรมและตำนานสองฝั่งโขง

                                                                ชัชวาลย์ โคตรสงคราม นักเขียน-นักค้นคว้าอิสระ

                                                                เด่นชัย ไตรยะถา สภาวัฒนธรรมจังหวัดนครพนม

                                                                โอทอง คำอินซู นักเขียนซีไรต์ สปป.ลาว

                                                                ทรงวิทย์ พิมพกรรณ สำนักวัฒนธรรม มข. ดำเนินรายการ                               11.00 น. รับประทานอาหารว่าง                               

11.30 น. ปัจฉิมกถาหัวข้อ ศ.ดร.อภินันท์ โปษยานนท์ อธิบดีกรมส่งเสริมวัฒนธรรม   12.30 น. รับประทานอาหารกลางวัน จบการสัมมนาวิชาการ

พิธีกรตลอดงาน

ดุสิต คร่ำสุข สมาคมนักกกลอนแห่งประเทศไทย

มินทร์ลดา นิธิโชตินันทชัย สโมสรมิตรภาพวัฒนธรรมสากล
 
สัมมนาภาคสนาม 20 ปี สัมพันธ์ กวี นักเขียน ไทย – ลาว  ณ สวนไผพันกอ กำแพงนครเวียงจันท์ สปป.ลาว

วันอาทิตย์ ที่  9 มกราคม พ.ศ. 2554  (เฉพาะนักเขียน สื่อมวลชน วิทยากร คณะทำงาน และผู้ลงทะเบียน)

เวลา        15.00 น.                 คณะวิทยากร สื่อมวลชน และคณะทำงาน พร้อมกัน ณ ด่านตรวจคนเข้าเมืองจังหวัดหนองคาย เชิงสะพานมิตรภาพไทย – ลาว ทำเรื่องผ่านแดน

                16.00 น.                 นมัสการ พระธาตุหลวง หรืออีกชื่อคือพระเจดีย์โลกจุฬามณี ซึ่งเป็นปูชนียสถานสำคัญยิ่งแห่งหนึ่งของประเทศลาว ภายในบรรจุพระบรมสารีริกธาตุ       

                17.00 น.                 ถึง สวนไผ่พันกอ รับประทานอาหารค่ำกล่าวต้อนรับคณะ โดย ดวงเดือน บุนยาวง และ ดาลา กันละยาเปิดงานโดย ศ.ดรอภินันท์ โปษานนท์ อธิบดีกรมส่งเสริมวัฒนธรรม กล่าวเปิดการสัมมนา เสวนาร่วมเสวนา 20 ปี มิตรภาพและความสัมพันธ์ นักเขียน ไทย – ลาวฝั่งไทย สมาคมนักกลอนแห่งประเทศไทย,สโมสรมิตรภาพวัฒนธรรมสากล และ สโมสรนักเขียนภาคอีสาน นำโดย เนาวรัตน์ พงษ์ไพบูลย์,สมคิด สิงสง,ปราโมทย์ ในจิต,วีระ สุดสังข์,สุมาลี โพธิพยัฆค์ ฯลฯ ฝั่งลาว สมาพันธ์นักประพันธ์ สปป.ลาว โดย ทองใบ โพทิสาน,โอทอง คำอินซู,วิกกี้ กันละยา ,บุนทะนอง ชมไชผน , ดาวเวียง บุดนาโค  

                21.00 น.                 เข้าที่พักในหอพักนักกีฬาซีเกมส์ภายใน มหาวิทยาลัยแห่งชาติ สปป.ลาว

วันจันทร์ที่ 10 มกราคม พ.ศ.2554

เวลา        07.00 น.                 รับประทานอาหารเช้า ณ ร้านบ้านแสนรัก (แบบลาวๆ) ของ พร้อมพูดคุยกับ ทองใบ โพทิสาน กวีซีไรต์ สปป.ลาว และ รองปลัดกระทรวงแถลงข่าวและวัฒนธรรม สปป.ลาว

                08.00 น.                 นำชมรอบกำแพงนครเวียงจันท์ เช่น ประตูไชย,วัดพระแก้ว,วัดสีสะเกด

                10.00 น.                 เที่ยวชม ตลาดเช้า ตลาดใหญ่ที่สุดในกำแพงนครเวียงจันท์

                12.00 น.                 รับประทานอาหารเที่ยง
                13.00 น.                 ถึงด่านตรวจคนเข้าเมืองเพื่อข้ามแดนกลับประเทศไทยโดยสวัสดิภาพ
 
 
 
 

กำหนดการภาคสนาม นครหลวงเวียงจันท์ ( 450 ปี สถาปนา) ,วังเวียง (กุยหลินแห่งลุ่มน้ำซอง),หลวงพระบาง (เมืองมรดกโลกอุษาคเนย์) สปป.ลาว ระหว่าง วันที่ 10-15 มกราคม พ.ศ.2554

วันอาทิตย์ที่ 9 มกราคม พ.ศ.2554

เวลา        15.00 น. ทีมงานออกเดินทางพร้อมกัน ณ ด่านตรวจคนเข้าเมือง จังหวัดหนองคา เชิงสะพานมิตรภาพไทย – ลาว ทำเรื่องผ่านแดน

                16.00 น. นมัสการ พระธาตุหลวง หรืออีกชื่อคือพระเจดีย์โลกจุฬามณี ซึ่งเป็นปูชนียสถาน

สำคัญยิ่งแห่งหนึ่งของประเทศลาว ภายในบรรจุพระบรมสารีริกธาตุ

                17.00 น. ถึง สวนไผ่พันกอ รับประทานอาหารค่ำ กล่าวต้อนรับคณะ โดย ดวงเดือน บุนยาวง และ ดาลา กันละยา เปิดงานโดย ศ.ดรอภินันท์ โปษานนท์ อธิบดีกรมส่งเสริมวัฒนธรรม กล่าวเปิดการสัมมนา และร่วมเสวนา 20 ปี มิตรภาพและความสัมพันธ์ นักเขียน ไทย – ลาว ฝั่งไทย สมาคมนักกลอนแห่งประเทศไทย,สโมสรมิตรภาพวัฒนธรรมสากล และ สโมสรนักเขียนภาคอีสาน นำโดย เนาวรัตน์ พงษ์ไพบูลย์,สมคิด สิงสง,ปราโมทย์ ในจิต,วีระ สุดสังข์,สุมาลี โพธิพยัฆค์ ฯลฯ ฝั่งลาว สมาพันธ์นักประพันธ์ สปป.ลาว โดย ทองใบ โพทิสาน,โอทอง คำอินซู,วิกกี้ กันละยา ,บุนทะนอง ชมไชผน , ดาวเวียง บุดนาโค  

                21.00 น. เข้าที่พักโรงแรมในกำแพงนครเวียงจันท์ (ในมหาวิทยาลัยแห่งชาติ สปป.ลาว)

วันจันทร์ที่ 10 มกราคม พ.ศ.2554

เวลา        07.00 น. รับประทานอาหารเช้า ณ โรงแรมที่พัก

08.00 น. นำชมรอบกำแพงนครเวียงจันท์ เช่น วัดสีเมือง,เจดีย์ดำ,ประตูไชย,วัดพระแก้ว,วัดสีสะเกดวัดแห่งเดียวในเวียงจันท์ที่ไม่ถูกเผาในศึกสงครามในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัวที่มี พระยาบดินทร์เดชา เป็นแม่ทัพใหญ่ ศึกครั้งได้เกิดวรรณกรรมนิราศเรื่องสำคัญที่บรรยายความงดงามของนครหลวงแห่งนี้ นิราศทัพเวียงจันท์ ของ หม่อมเจ้าทับ ในกรมหลวงเสนียบริรักษ์ กวีวังหลังร่วมสมัยกับสุนทรภู่ ซึ่งพรรณาความงดงาม ความรุ่งเรือง และความองอาจของพระมหานครเวียงจันท์ว่า “งามสถานปานศรีอยุธยา”            ล่วงทวารด่านโดยทักษิณทิศ                             พี่เปลี่ยวจิตเปล่าใจอาลัยหา

                                งามสถานปานศรีอยุธยา                                        ช่างเทียบทำทีทำไม่ผิดทรง

                10.00 น. เที่ยวชม ตลาดเช้า ตลาดใหญ่ที่สุดในกำแพงนครเวียงจันท์

                12.00 น. รับประทานอาหารกลางวัน ณ ร้านริมแม่น้ำของ (โขง)

                13.00 น.  ออกเดินทางสู่เมืองวังเวียง กุยหลินแห่งลุ่มน้ำซอง เมืองสงบเงียบกลางขุนเขา สายน้ำ และผู้คน

15.00 น. ถึงเมืองวังเวียง เข้าโรงแรมที่พัก พักผ่อนตามอัธยาศัย

19.00 น. รับประทานอาหารเย็น ณ โรงแรมที่พัก

วันอังคารที่ 11 มกราคม พ.ศ.2554

08.00 น. รับประทานอาหารเช้าเส้นเริ่มต้นเข้าสู่หลวงพระบาง ระหว่างทางเส้นทางค่อนข้างคดเคี้ยวโดยกว่าจะถึงหลวงพระบางมีโค้งทั้งหมด 4,500 โค้ง แต่มีภูเขาหมอกสวย และ วิวสวยมากใครเมารถต้องเตรียมป้องกันไปให้ดี

12.00 น. รับประทานอาหารกลางวันที่ ร้านกาแฟ “ภูเพียงฟ้า”ข้างทาง และถึงจุดตลาดชาวบ้านที่ “พูคูน”แวะซื้อสินค้าแฮนด์เมดที่ราคาถูกกว่าในหลวงพระบาง

16.00 น. ถึง หลวงพระบาง เมืองมรดกโลก เข้าโรงแรมที่โรงแรมรามา อยู่ติดกับวัดวิชุน ห้องพักดี ราคาประหยัดและอาหารอร่อย

19.00 น.          รับประทานอาหารเย็นพักผ่อนตามอัธยาศัย  
วันพุธที่ 12 มกราคม พ.ศ.2554
เวลา        07.00 น.          รับประทานอาหารเช้าที่โรงแรม

เวลา        08.30 น.        ชมวัดวิชุน  (Visounnarath Temple)  สร้างในสมัยพระเจ้าวิชุนราช  ในปี พ.ศ. 2046 สร้างขึ้นเพื่อเป็นที่ประดิษฐานพระบาง  ซึ่ง อาราธนามาจากเมืองเวียงคำ  มีเจดีย์ปทุมหรือพระธาตุดอกบัวใหญ่  วัดนี้มีพระธาตุเจดีย์องค์ใหญ่รูปทรงคล้างแตงโมผ่าครึ่ง  ทำให้ชาวลาวเรียกกันว่า  “พระธาตุหมากโม”  เป็นทรงโอคว่ำยอดพระธาตุลักษณะคล้ายรัศมีแบบแปลวไฟของพระพุทธรูปแบบลังกา  หรือสุโขทัย เจดีย์นี้อาจดูทรุดโทรมมากแม้จะมีการปฏิสังขรณ์มา 2 ครั้งแล้วในปี พ.ศ. 2402  ในสมัยพระเจ้าสักกรินทร์  (คำสุก)   ซึ่งเป็นพระราชบิดาของเจ้ามหาชีวิตศรีสว่างวงศ์ได้โปรดให้มีการบูรณะใหม่และได้มีการบูรณะครั้งใหญ่ในปี พ.ศ. 2457  ในรัช  สมัยของเจ้ามหาชีวิตศรีสว่างวงศ์  ได้ค้นพบโบราณวัตถุมีค่ามากมาย เช่น เจดีย์ทองคำ  พระพุทธรูปหล่อสำริด  พระพุทธรูป  ทองคำ  ปัจจุบันนำไปเก็บไว้ในหอพิพิธภัณฑ์ หลวงพระบาง  ในพระราชวังหลวงจนถึงปัจจุบัน

เวลา        09.00 น. เยี่ยมคารวะท่านเจ้าแขวงหลวงพระบาง  

เวลา        10.30 น.                  นั่งรถสามล้อเครื่อง ชมเมืองที่ได้ขึ้นทะเบียนเป็นมรดกโลก  สมบูรณ์ด้วยศิลปวัฒนธรรมล้านช้างทั้งสถาปัตยกรรม การสร้างบ้านแปงเมือง  ผู้คนที่ยังคงรักษาขนบธรรมเนียมไว้   เดินทางสู่วัดเชียงทอง  (Xieng  Thong  Temple)  เป็นวัด หลวงคู่บ้านคู่เมืองหลวงพระบาง  สร้างขึ้นในสมัยพระเจ้าไชยเชษฐาธิราชก่อนที่จะย้ายเมืองหลวงไปเวียงจันทน์  และยังได้รับการ อุปถัมภ์จากเจ้ามหาชีวิตศรีสว่างวงศ์และเจ้าชีวิตศรีสว่างวงศ์วัฒนา  กษัตริย์สองพระองค์สุดท้ายของลาว  บริเวณที่ตั้งของวัดอยู่ทางทิศตะวันออกเฉียงเหนือของตัวเมืองหลวงพระบาง  ใกล้บริเวณที่แม่น้ำคานไหลมาบรรจบกันกับแม่น้ำโขง  มีพระอุโบสถหรือ   ภาษาลาวเรียกว่า “สิม”  เป็นหลังไม่ใหญ่โตนัก  หลังคาพระอุโบสถแอ่นโค้งและลาดต่ำลงมาก  ซ้อนกันอยู่ 3 ชั้น  เป็นศิลปะแบบ หลวงพระบาง  ส่วนกลางมีช่อฟ้าประกอบด้วย 17 ช่อ  ซึ่งเป็นที่สังเกตกันว่าเป็นวัดที่พระมหากษัตริย์สร้างขึ้นจึงมี 17 ขั้น   ส่วน สามัญจะสร้างกันแค่ 1-7 ช่อเชื่อกันว่าจะเก็บของมีค่าไว้ในนั้นด้วย  ส่วนหน้าบันหรือภาษาลาวว่า “โหง่”  เป็นรูปเศียรนาค  ความงามของวัดอยู่ที่ความสงบสง่า สะอาดมีการวางผังออกแบบและบำรุงรักษาอย่างดีเยี่ยม 

 เวลา       12.00  น.         รับประทานอาหารกลางวัน

เวลา        13.30 น.          ชมพระราชวังเจ้ามหาชีวิต พระราชวังเก่า  (Royal Palace Museum)  เป็นวังที่เจ้ามหาชีวิตศรีสว่างวงศ์  ทรงประทับที่นี่จนสิ้นพระชนม์  เมื่อมีการเปลี่ยนแปลงการปกครองเมื่อปี พ.ศ.2518   พระราชวังก็ได้ถูกเปลี่ยนเป็นพิพิธภัณฑ์ประกอบด้วย หอฟังธรรม  ห้องรับแขกของเจ้ามหาชีวิตและพระมเหสี  ห้องท้องพระโรง  ทางด้านหลังก็เป็นพระตำหนักซึ่งมีเครื่องใช้ไม้สอยต่าง ๆ จัดเก็บไว้เป็นระเบียบเรียบง่ายและนำท่านนมัสการหอพระบาง  ซึ่งเป็นพระคู่บ้านคู่เมืองของหลวงพระบาง  เป็นพระพุทธรูปประทับยืนปรางค์ห้ามสมุทร  เป็นพระพุทธรูปศิลปะขอมสมัยหลังบายน  น้ำหนัก 54  กก.  ประกอบด้วยทองคำ 90%  และยังมีพระพุทธรูปนาคปรกสลักศิลาศิลปะขอมอีก 4 องค์ประดิษฐานอยู่  

 เวลา       14.30 น.          เดินขึ้นบันได 328 ขั้นสู่ พระธาตุพูสี  (Phou Si Mountain) โดย สองข้างทางร่มรื่นด้วยต้นดอกจำปา  ภูษีนี้หมายถึง “พูสี”  คือเป็นศรีของเมืองหลวงพระบางนั่นเอง  ตั้งโดดเด่นกลางใจเมืองมีจุดชมวิวก่อนถึงยอดพระธาตุมองเห็นวัด  บ้านเรืองทอดยาวขนานกับแม่น้ำโขงจรดปากแม่น้ำคาน  ยอดสูงสุดของพูสี อยู่บนพื้นที่ราบแคบ ๆ ตัวพระธาตุเป็นทรงดอกบัวสี่เหลี่ยมทาสีทอง  ตั้งอยู่บนฐานสี่เหลี่ยม  ยอดประดับด้วยเศวตฉัตรทองสำริด 7 ชั้น  สูงประมาณ 21 เมตร  จะสวยมาก ๆ ในยามบ่ายแก่ ๆ แบบนี้แสงแดดจะส่ององค์พระธาตุเป็นทีสองสุกปลั่ง  มีทางเดินรอบองค์พระธาตุ  สามารถชมทิวทัศน์ตัวเมืองหลวงพระบางได้

เวลา        18.00 น.          รับประทานอาหารเย็นแบบพาแลง และ บายศรีสู่ขวัญคนมาเยือน และรำวงแบบหลวงพระบาง พร้อมคณะร้องหมอลำแบบเก่าแก่

เวลา        20.00 น.          เดินชมตลาดมืด(โต้รุ่ง) ตามแบบหลวงพระบาง เลือกซื้อสินค้าแฮนด์เมด ตามสบาย ก่อนจะไปดื่มกินต่อที่ “เมืองซัว”สถานบันเทิงแห่งเมืองหลวงพระบางที่อนุรักษ์การเต้นแบบ “บัดสโลป”เอาไว้ 

 วันพฤหัสบดีที่ 13มกราคม พ.ศ.2554

เวลา        05.30 น.          ตื่นเช้าตักบาตรข้าวเหนียว พระสงฆ์ที่ออกมาบิณฑบาตยามเช้านับร้อย ๆ รูป  เป็นภาพยามเช้าที่สะท้อนถึงวิถีชีวิตอันสงบสุขและความเลื่อมใสศรัทธาต่อพุทธศาสนา  (ค่าข้าวเหนียวพร้อมอุปกรณ์ประมาณ 100 บาท ไม่รวมค่าใช้จ่ายในการเก็บค่าเดินทาง)

เวลา        07.30 น. เดินชมบรรยากาศของตลาดเช้าที่แสนคึกคัก มีสินค้าพื้นเมืองมาจำหน่ายเป็นจำนวนมาก /รับประทานอาหารเช้าที่โรงแรม หรือ อิ่มท้องจากตลาดก็ได้

เวลา        08.30 น. ออกเดินทางไปยังถ้ำติ่ง ซึ่งเป็นถ้ำที่มีการเก็บสะสมพระพุทธรูปไม้จำนวนมาก โดยทิวทัศน์ก่อนถึงถ้ำติ่งจะสวยงามเต็มไปด้วยโขดหินน้อยใหญ่ รวมถึงก่อนถึงถ้ำติ่งจะจะผ่านหมู่บ้านหัตถกรรมและมีสินค้าราคาถูกที่เป็นผ้าทอมือมากมาย

เวลา        12.00 น.          รับประทานอาหารที่ร้านอาหารติดถ้ำติ่ง บริเวณที่แม่น้ำโขงและแม่น้ำอูไหลบรรจบกันเรียกว่า “ปากอู” จะเห็นสีของแม่น้ำเป็นสองสีสวยงามจริงๆ

เวลา        13.00 น.          ออกเดินทางไปชมน้ำตกตาดกวางสี น้ำตกที่สูงและสวยที่สุดของหลวงพระบาง น้ำใสไหลเย็น เห็นฝรั่งชายหญิงลงเล่นน้ำอย่างหรรษา พร้อมเลือกซื้อสินค้าพื้นเมืองของชาวบ้าน

เวลา        18.00 น.          รับปะทานอาหารเย็น ที่ร้านอาหารแบบหลวงพระบางแท้ๆ

เวลา        20.00 น.          เดินชมเมือง เลือกซื้อสินค้า ในเมืองและเยือนตลาดมืดวันสุดท้าย

วันศุกร์ที่ 14 มกราคม พ.ศ.2554

เวลา        07.00 น.                  รับประทานอาหารเช้าที่โรงแรม

เวลา        08.00 น.                  ถึงสนามบินหลวงพระบาง เช็กสัมภาระ ก่อนออกเดินทาง

เวลา        09.00 น. เดินทางออกจากหลวงพระบางโดยสายการบิน ลาวแอร์

เวลา        10.00 น. ถึงสนามบินนานชาติเวียงจันท์เดินทางข้ามฝั่งกลับประเทศไทยโดยสวัสดิภาพสำหรับท่านที่จะเดินทางต่อยังกรุงเทพฯ สามารถขึ้นรถโดยสารกลับได้ที่สถานีขนส่ง /รถไฟ หรือต่อเครื่องบินที่ท่าอากาศยานนานาชาติอุดรธานีได้ตามสะดวก

 

หมายเหตุ

-                    กำหนดการอาจปรับเปลี่ยนตามความเหมาะสม วิทยากรอยู่ระหว่างการตอบรับ

-                    สำหรับ วิทยากร และผู้สนใจร่วมเดินทางไป สปป.ลาว ระหว่างวันที่ 9-10 มกราคม พ.ศ.2554ต้องชำระค่าเดินทางท่านละ 1,500 บาท (ค่าที่พัก/ค่าอาหารและค่าพาหนะ) ยกเว้น กรณีร่วมคณะเดินทางไปภาคสนาม เวียงจันท์ – วังเวียง – หลวงพระบาง ระหว่าง วันที่ 9-10 มกราคม พ.ศ.2554 ค่าทัวร์ 11,000 บาท (ไปรถ-กลับเครื่องบิน)  

-                    หากกลับโดยเครื่องบิน หลวงพระบาง – กทม. ค่าทัวร์ 12,000 บาท โดยประมาณ

-                    โปรดชำระเงินล่วงหน้าเพื่อดำเนินการ รับจำนวน 40 ท่าน ผู้ที่จะเดินทางไปภาคสนาม เวียงจันท์ – วังเวียง – หลวงพระบาง ต้องใช้หนังสือเดินทางที่มีอายุไม่น้อยกว่า 30 วัน พร้อมถ่ายสำเนาห้นาหนังสือเดินทาง และโปรดชำระค่าเดินทางก่อนวันเดินทางและยืนยันหลักฐานการชำระมาที่ อีเมล์มาที่ mahashin19@gmail.com  หรือที่ คุณวิทยา วุฒิไธสง ศูนย์ข้อมูลลาว สำนักวัฒนธรรม มหาวิทยาลัยขอนแก่น 0-4332-025 – 0-43332-760 มือถือ 085-00034437

-                    ราคานี้ไม่นับรวม ค่าใช้จ่ายส่วนตัวที่ไม่เกี่ยวกับรายการเดินทาง,ค่าใช้จ่ายเบล็ดเตล็ด,ค่าเดินทางไป-กลับจากภูมิลำเนาไปยังด่านตรวจคนเข้าเมืองจังหวัดหนองคาย

-                    ราคานี้นับรวมค่าเดินทางระหว่างทัวร์ ค่าโรงแรม ค่าอาหาร ค่าชมโบราณสถานแหล่งท่องเที่ยว และมัคคุเทศท้องถิ่น

-                    รายได้ส่วนหนึ่งเหลือจากหักแล้วสมทบการสัมมนา “ร่องรอยกาลเวลา : ร่วมรู้พื้นถิ่นสุวรรณภูมิ 450 ปี พระนครเวียงจันท์ สายสัมพันธ์บ่กั้นขวาง สยาม-ลาว-ไทย” ณ มหาวิทยาลัยขอนแก่น วิทยาเขตหนองคาย

-                    จัดโดย สโมสรมิตรภาพวัฒนธรรมสากล – สมาคมนักกลอนแห่งประเทศไทย และ ศูนย์ข้อมูลลาว สำนักวัฒนธรรม มหาวิทยาลัยขอนแก่น ,องค์การกองทุนสัตว์ป่าโลกสากล (WWF) สำนักงานประเทศไทย ,สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาหนองคาย เขต 1 ,สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 21 และ สำนักงานวัฒนธรรมจังหวัดหนองคาย ฯลฯ

-                    สนับสนุนการจัดกิจกรรมโดย สำนักปลัดกระทรวงวัฒนธรรม

  
 
โปรดส่งใบสมัครกรองรายละเอียดด้วยตัวบรรจงแล้วส่งมาที่ อีเมล์ mahashin19@gmail.com หรือส่งที่ คุณวิทยา วุฒิไธสง ศูนย์ข้อมูลลาว สำนักวัฒนธรรม มหาวิทยาลัยขอนแก่น 0-4332-025 – 0-43332-760 มือถือ 085-00034437ยกเว้นในเขตพื้นที่จังหวัดหนองคาย โปรดส่ง สำนักงานวัฒนธรรมจังหวัดหนองคาย (ส่งที่ ผอ.ขัตติยา ชัยมณี) 042-413247-8
 
 



ข่าวสารประชาสัมพัธ์

เชิญส่งผลงานประกวด “อมตะ อาร์ต อวอร์ด” ครั้งที่6
เชิญส่งผลงานประกวดชิงรางวัลพานแว่นฟ้าปี 2558
กิจกรรม จากมองโกเลียอัลไต สู่ไทยเจ้าพระยา
อสรพิษ – แดนอรัญ แสงทอง – รางวัลซีไรต์ 2557
ผลการประกวดข้อเขียนแรงบันดาลใจจากหนังสือ ชีวิตใหม่ 2
เวทีกลอนเดือนสิบ ๒๕๕๗
ชวนประกวดเรื่องสั้นกับ สสส.
ผลรางวัลเซเว่นบุ๊คอวอร์ด ครั้งที่ 11, 2557
ประกาศรางวัล รพีพร 13 ก.ค. 2557
เชิญร่วมสงกรานต์นักกลอน และ ๗๕ ปี นิภา ท่าพระจันทร์
จัดงาน "๗๕ ปี นิภา ท่าพระจันทร์"
ขอเชิญร่วมการบำเพ็ญกุศลพระศพ สมเด็จพระญาณสังวร สมเด็จพระสังฆราช
ผลการตัดสิน รางวัลวรรณกรรมรามคำแหง ประจำปี ๒๕๕๖
ขอเชิญส่งบทกลอนไปร่วมสนุกในรายการ "ประกายดาว"
คอนเสิร์ตเพลงดังหนังไทย ครูสุรินทร์ ภาคศิริ
"หัวใจห้องที่ห้า" รางวัลซีไรต์ 2556
ร่วมแสดงมุทิตาจิต สู่ 80 ปี สุเทพ วงศ์กำแหง
ประชันกลอนสดกลอนกระดาษ “การเมืองและการเลือกตั้ง” ครั้งที่ ๒
ประชันกลอนสดกลอนกระดาษ “การเมืองและการเลือกตั้ง” ครั้งที่ ๒
7 เล่มสุดท้าย ซีไรต์ 2556
เยาวชนอายุระหว่าง 8-18 ปี เชิญส่งภาพประกวดวันแม่
Young Thai Artist Award 2013
ประกวดรางวัลวรรณกรรมรามคำแหงครั้งที่ 3
งานประชันกลอนสด ชิงชนะเลิศภาคตะวันออกเฉียงเหนือ
“ข้าวไทย เด็กไทย เรียงความชิงแชมป์ประเทศไทย”
เชิญร่วมกิจกรรม “ค่ายกวีน้อยเมืองนคร” 20-21 ก.ค. 56
พิธีมอบรางวัลสุนทรภู่ ๒๖ มิถุนายน ๒๕๕๖
เรื่องสั้นเข้ารอบสุดท้าย รางวัลสุภาว์ เทวกุลฯ ปี 2556
โครงการอบรมยุวกวีศรีศิลป์ รุ่น ๒๒ (นิราศภูเขาทอง)
รางวัลศรีบูรพา เป็นคนที่ 25 (2556) ธีรภาพ โลหิตกุล
ประสพโชค เย็นแข นักกลอนอาวุโส นักเขียนรางวัลนราธิป เสียชีวิต
ประกวดพานแว่นฟ้าแห่งรัฐสภาไทยประจำปี ๒๕๕๖
5 พฤษภาคม วันนักเขียน
วันนักแปลและล่าม ครั้งที่ 7
ร่องรอยกาลเวลา : ลาว เพื่อนบ้านอาเซียน วัฒนธรรมร่วมสองฝั่งโขง
รายชื่อกวีนิพนธ์และรายชื่อกรรมการซีไรต์ 2556
เปิดตัวหนังสือตำนานครูเพลง เพลงไทยสากล ลูกกรุง (30 มีนาคม 56)
รางวัลศรีบูรพา ปี 2556
นำชมศิลปะเขมร 7 วัน 12-18 เมษายน 2556
รางวัลหนังสือดีเด่นประจำปี 2556 คณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน
ล่องเรือเพลง และสังสรรค์รวมพลคนมีนา ประจำปี 2556
ลาว คำหอม และ พนมเทียน รับรางวัลอมตะครั้งที่ 6
สัมมนา ปันหยีอิเหนา ๒-๖ มีนาคม ๒๕๕๖
พิธีมอบรางวัล “นักเขียนอมตะ” ครั้งที่ ๖
งานมอบรางวัลนักเขียนบทความดีเด่นและฟังสักวา
“ราชมงคล รักษ์เหลืองจันท์ วันดอกไม้บาน” ครั้งที่ 12
เชิญประกวด “กวีนิพนธ์” และ “นักเขียนรุ่นเยาว์ กวีพนธ์” เซเว่นบุ๊คอวอร์ด
รางวัลนักเขียนอมตะประจำปี 2555
ประกาศรายชื่อศิลปินแห่งชาติ ประจำปี 2555
เชิญร่วมประกวด “กวีนิพนธ์” รางวัลซีไรต์ 2556
การประกวดรางวัลพระยาอนุมานราชธน
ศิลปินแห่งชาติ พุทธศักราช 2555
ผลการตัดสินรางวัลวรรณกรรมรามคำแหง ประจำปี 2555
ประกวดรางวัลวรรณกรรมรามคำแหง ครั้งที่ ๒, ๒๕๕๕
ประชุมวิชาการ 100 เอกสารสำคัญ: สรรพสาระประวัติศาสตร์ไทย ครั้งที่ 8
สมาคมนักกลอนเชิญชวนแข่งขันกลอนสดประจำปี ๒๕๕๕
นายอินทร์อะวอร์ด ๒๕๕๖
ผลเซเว่นบุ๊คอวอร์ด 2555
นวนิยาย "คนแคระ" ของ วิภาส ศรีทอง คว้าซีไรต์ปี 2555
สัมมนาวิชาการ “ท้องถิ่นอีสานกับการปรับตัวยุคโลกาภิวัฒน์”
ภาพงานรับรางวัลพานแว่นฟ้า ปี 2555
การคัดเลือกกวีรางวัลสุนทรภู่ ประจำปี ๒๕๕๕
ร่องรอยกาลเวลา: ลุ่มน้ำน่าน
รายการศิลป์สโมสร - รางวัลสุนทรภู่ 26 มิถุนายน 2555
จัดงานเปิดตัวหนังสือชุดบทกวีคำเมือง
โครงการเที่ยวเชียงใหม่ ไหว้พระ(เกิน)เก้าวัด กับนายกสมาคมนักกลอน
โครงการแทนคุณแผ่นดิน ปี ๒๕๕๕
ร่องรอยกาลเวลา : สุรินทร์
ร่อยรอยกาลเวลา : ตรัง
งานมหกรรมทุเรียนโลก จังหวัดจันทบุรี
สงกรานต์นักกลอน" วันอาทิตย์ที่ ๑๕ เมษายน ๒๕๕๕
สัมมนา "จ้วง-ไท ศึกษา การค้นพบอักษรภาพของชนเผ่าไท"
เชิญชมหนังสือตัวอย่าง "ทางอีศาน" งานสัปดาห์หนังสือ
งานสัปดาห์หนังสือแห่งชาติ ครั้งที่ 40, 2555
รางวัล "ศรีบูรพา" ประจำปี 2555
ชิงรางวัลพานแว่นฟ้า ครั้งที่ ๑๑ ประจำปี ๒๕๕๕
รวมพล คนมีนา" โดยพร้อมเพรียงกัน
กำหนดการชุมนุมเสวนา 72 ปี เนาวรัตน์ พงษ์ไพบูลย์
ประชุมใหญ่สมาคมนักกลอนแห่งประเทศไทย
เสวนากวี ม.แม่โจ้ ๔ ธ.ค
โครงการ สานสายสัมพันธ์วัฒนธรรมอาเซียน ครั้งที่ 2
เชิดชูปูชนียบุคคลและผู้ใช้ภาษาไทยดีเด่น กระทรวงวัฒนธรรม
“รักสร้างสรรค์สยาม” โดยกลุ่มสห+ภาพ
ขอเชิญร่วมเปิดตัวนิตยสาร "อีศาน" และหนังสือ "บทนำชีวิต"
ประกาศผลรางวัลพานแว่นฟ้า ประจำปี ๒๕๕๔
ประกวดเรียงความ เรื่องสั้น บทกวี รางวัลธรรมวรรณศิลป์
ประกาศผลการตัดสินการประกวดหนังสือดีเด่นรางวัลเซเว่นบุ๊คอวอร์ด ครั้งที่ ๘ (ประจำปี ๒๕๕๔)
ขอเชิญร่วมแข่งสักวากลอนสด
โครงการกล้าวรรณกรรม ถอดรหัสนักวาดการ์ตูนในฝัน
เสวนา ๒๕ ปีสำนักพิมพ์แม่คำผาง
เปิดรับ “ศิษย์เก่า” รางวัลพานแว่นฟ้า
กาดผญาครั้งที่ ๕ ทัวร์วัฒนธรรมรถรางไหว้พระ ๙ วัด
Young Thai Artist Award 2011
นิทรรศการจัดแสดงผลงานของท่านสุนทรภู่ แนวร่วมสมัย
โครงการกล้าวรรณกรรม รุ่นที่ 8 เข้าอบรมฟรี
กิจกรรม คุณ...จะเอาพวกเขาไปไว้ที่ไหน?
โครงการแลกเปลี่ยนเรียนรู้จุดประกายความคิด
งานประกาศผลรางวัลนายอินทร์อะวอร์ด ครั้งที่ ๑๒
วิจารณ์วรรณกรรม ชั่วฟ้าดินสลาย



bulletผลร้อยกรองออนไลน์ 2558
dot
ประกวดร้อยกรองออนไลน์ครั้งที่ 7
dot
bulletข้อมูลการประกวดครั้งที่ 7, 2557
bulletผังร้อยกรอง
bulletอ่านโคลงประกวด 2557
bulletอ่านกลอนประกวด 2557
bulletอ่านกาพย์ยานีประกวด 2557
bulletผลการประกวดร้อยกรอง ปี 2557
dot
ข่าวสาร ข้อมูลสมาคม
dot
bulletกรรมการสมาคมสมัยที่ ๑๕-๑๖
bulletนายกสมาคมสมัยที่ ๑๗
bulletติดต่อนายกสมาคมนักกลอน
bulletติดต่อฝ่ายดูแลส่วนต่างๆ
bulletสมัครสมาชิกสมาคมนักกลอน
bulletนักกลอนตัวอย่าง ๒๕๕๓
dot
หัวข้อน่าสนใจ
dot
bulletรวมลิ้งค์เว็บไซต์น่าสนใจ
bulletส่งบทสักวา น.ส.พ. สยามรัฐ
bulletวารสารวิทยาจารย์ รับต้นฉบับ
bulletส่งข้อเขียนครูในดวงใจ
dot
แนะนำหนังสือ
dot
bulletหน้ารวมหนังสือ
bulletคู่มือเรียนเขียนกลอน
bulletกาสรคำฉันท์ - สมคิด สิงสง
bulletหนังสือสุรินทร์สโมสร
bulletฝากโลกนี้ไว้ในหัวใจเธอ - กอนกูย
bulletเลือน - อติภพ
bulletธาร ธรรมโฆษณ์
bulletนายทิวา
bulletกลอนเกียรติยศ
bulletอ้อมกอดแห่งท้องทุ่ง
bulletทองแถม นาถจำนง
bulletพงศาวดารพิภพ
bulletโป๊ยเซียน คะนองฤทธิ์
dot
โครงการประกวดต่างๆ
dot
bulletนายอินทร์อะวอร์ด ๒๕๕๖
bulletประกวดรางวัลซีไรท์ปี ๒๕๕๖
bulletรางวัลพานแว่นฟ้า ปี ๒๕๕๖
bulletรางวัลวรรณกรรมรามคำแหง ๒๕๕๖
dot
ผลตัดสินรางวัลต่างๆ
dot
bulletรางวัลศรีบูรพา ๒๕๕๖
bulletผลรางวัลซีไรต์ ๒๕๕๗
bulletผลเซเว่นบุ๊คอวอร์ด ๒๕๕๗
bulletผลรางวัลแว่นแก้ว ๗ (๒๕๕๓)
bulletผลกลอนวิถีคนกับควาย
bulletผลร้อยกรอง “ผมจะเป็นคนดี”
bulletรางวัลนราธิป ๒๕๕๓
bulletนักเขียนอมตะ คนที่ ๖ (๒๕๕๕)
bulletนักเขียนรางวัลศรีบูรพา ๒๕๕๖
bulletศิลปินมรดกอีสาน ๒๕๕๔
bulletผลรางวัลพานแว่นฟ้า ๒๕๕๕
bulletผลรางวัลรามคำแหง ๒๕๕๖
bulletศิลปินแห่งชาติ ๒๕๕๕
bulletผลประกวดหนังสือ ชีวิตใหม่ 2
dot
ข่าวคราวของลมหายใจ
dot
dot
Weblink
dot
bulletอ่านกลอนประกวด 2556

หนังสือพิมพ์ คมชัดลึก
สมาคมนักเขียนแห่งประเทศไทย
ศูนย์ให้คำปรึกษาปัญหาภาษาไทย มศว
เว็บรวมกระทู้ อาศรมชาวโคลง ใน pantip.com
หนังสืออีศาน


Copyright © 2010 All Rights Reserved.
ติดต่อ นายกสมาคมนักกลอนแห่งประเทศไทย ทองแถม นาถจำนง
โทรศัพท์ ๐๘๙-๑๒๓๔๗๕๔ อีเมล์ tongtham.n@hotmail.com

สำนักพิมพ์แม่โพสพ